Thursday, April 26, 2007

Remote Communities Development Project.

Hydropower / background
Hill tribe community live on highland it’s high mountain with forest and head stream by far development and the transportation is difficult in rainy season. Their occupations are rotation fields , plant rice and integrate with other vegetables , they have their own traditional custom, culture as their symbol and they are also known as peace lovely folks by their sharing and caring , friendliness as well as mutual understanding and cooperation like one big family . Some village they have small school, public health center and multipurpose building, but they don’t have an electricity to use some Technology for the school. We provided a Mini-Micro Hydro Power for using in public center and do some income
Comment1
I am Border Green Energy Team [BGET] volunteer have received more experience Solar Home System , Micro Hydro Power , Solar Cooker and Ram Pump. I felt that this energies are useful for rural communities to reduce the families expense , reduce to destroy the forest and the villagers conscious of water in useful and satisfied in forest preservation and natural resource management for sustainable. The villagers said that we are satisfy in new technology and try to find a good way for general income in green energy .

Location time people 2006
Micro Hydro Power in Huey Kra Thing village, Moo 6, Phra That sub district, Mae ramat district, Tak. We provided it on February 2006; it’s useful for 45 students and 265 villagers.

Location time people 2005
3. Micro Hydro Power in Mae sa pao village, Moo 2, Mae wa luang sub district, Tha yong yang district, Tak. We provided it on March 2005; it’s useful for 36 students and 386 villagers.

Location time people 2004
2. Micro Hydro Power in Ewijo village, Moo 8, Mae wa luang sub district, Thasongyang district, Tak. We provided it on February 2004; it’s useful for 77 students and 242 villagers

Location time people 2003
Micro Hydro Power in Kre kee village, Moo 9, Mae wa luang sub district, Thasongyang district, Tak. We provided it on February 2003; it’s useful for 76 students and 300 villagers.
Solar power training (background)
Two years a go [2004] the Government installed Solar Home System to remote communities because the land are reservations and national park area. It couldn’t run electricity from town to there, but the Solar cell is a new technology for villagers, they don’t understand when get a problem, we give a training workshop to villagers for understanding the System, maintenance the System with environment.

Location time people
We provided training workshop on January – March 2006 to villagers and local government members in Thasongyang district, Tak area. There were 6 district and 120 people in participants.

We provided training workshop on March – June 2006 to villagers and local government members in Thasongyang district, Tak area. There were 5 district and 100 people in participants

We provided training workshop to Refugees people in Mae la camp Thasongyang district, Umpium mai camp in PhoPhra district and in Nu pho camp Umphang district, Tak province.

โครงการพัฒนาชุมชนห่างไกล

ชุมชนชาวไทยภูเขาอาศัยอยู่บนพื้นที่สูง เป็นป่าเขาและต้นน้ำ ห่างไกลความเจริญ และการคมนาคมลำบากมากในฤดูฝน มีอาชีพทำไร่หมุนเวียน ปลูกข้าวเป็นหลักและผสมผสานกับพืช ผักที่เป็นพันธุ์พื้นบ้าน ได้ดำเนินชีวิตแบบเรียบง่าย มีวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นของตนเอง รักและช่วยเหลือ แบ่งปันซึ่งกันและกัน ในแต่ละปีจะมีการถางป่าเพื่อทำไร่ข้าวและในบางชุมชนมีโรงเรียนขนาดเล็ก สาธารณสุขชุมชนและสถานที่อเนกประสงค์ แต่ไม่ไฟฟ้าที่จะใช้กับสื่อการเรียนการสอนหรือเทคโนโลยีอื่น จึงเกิดโครงการไฟฟ้าน้ำตกขนาดเล็ก เพื่อใช้ในสถานที่สาธารณประโยชน์ หารายได้เสริมจากไฟฟ้า

และขณะเดียวกันชุมชนเกิดสำนึกประโยชน์ของน้ำ แล้วจัดกลุ่มอนุรักษ์ป่าต้นน้ำเพื่อการจัดการทรัพยากรอย่างเหมาะสมและยั่งยืน

ผมเป็นอาสาสมัครในโครงการพลังงานสีเขียวตลอดชายแดนจังหวัดตากได้เรียนรู้เรื่องพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Home System) พลังงานไฟฟ้าน้ำตก (Micro Hydro Power) การหุงต้มด้วยพลังงานแสงแดด (Solar Cooker) และการทดน้ำด้วยแรงดันของน้ำ (Ram Pump) รู้สึกว่าเป็นพลังงานที่มีประโยชน์กับชาวบ้านในชนบทมาก ช่วยลดค่าใช้จ่ายให้กับชาวบ้าน ลดการตัดไม้ทำลายป่า และทำให้ชาวบ้านสำนึกในการอนุรักษ์ป่า รักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ส่วนชาวบ้านเองบอกว่ามีความพอใจกับเทคโนโลยีใหม่ๆและจะหาวิธี หาอาชีพเสริมจากการใช้พลังงานนี้เพื่อสร้างคุณภาพที่ดีขึ้น นายสุคนธ์ พันธุ์ปัญญากรกุล (Tey)

4.โครงการไฟฟ้าน้ำตกบ้านห้วยกระทิง หมู่ที่ 6 ต.พระธาตุ อ.แม่ระมาด จ.ตาก ดำเนินการเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2549 เกิดประโยชน์กับนักเรียน 45 คน ชาวบ้าน 265 คน

3.โครงการไฟฟ้าน้ำตกบ้านแม่สะเปา หมู่ที่ 2 ต.แม่วะหลวง อ.ท่าสองยาง จ.ตาก เริ่มดำเนินการเมื่อเดือนมีนาคม 2548

2.โครงการไฟฟ้าน้ำตกบ้านอิวีโจ หมู่ที่ 8 ต.แม่วะหลวง อ.ท่าสองยาง จ.ตาก เริ่มดำเนินการเมื่อเดือนกุมภาพันธุ์ 2547

1.โครงการไฟฟ้าน้ำตกบ้านเกร๊ะคี หมู่ที่ 9 ต.แม่วะหลวง อ.ท่าสองยาง
เริ่มดำเนินการเมื่อเดือนมกราคม 2546

เมื่อปีพ.ศ.2547 รัฐบาลได้ติดตั้งไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ระบบครัวเรือนให้กับชาวไทยบนพื้นที่สูง ด้วยพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ป่าสงวน อุทยานแห่งชาติไม่อาจส่งระบบไฟฟ้าจากพื้นราบได้ แต่ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เป็นเทคโนโลยีใหม่ชาวบ้านไม่เข้าใจระบบส่งผลถึงปัญหาหลายอย่าง จึงเกิดโครงการฝึกอบรมชาวบ้านให้มีความเข้าใจ รู้จักดูแลรักษา การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนที่สุดพร้อมทั้งการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ

จัดฝึกอบรมให้ชาวบ้านและสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลของอำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก จำนวน 6 ตำบล จำนวนคนประมาณ 120 คน เริ่มเมื่อเดือนมกราคมถึงมีนาคม 2549

จัดฝึกอบรมให้ชาวบ้านและสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลของอำเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก จำนวน 5 ตำบล จำนวนคนประมาณ 100 คน เริ่มเมื่อเดือนมีนาคมถึงมิถุนายน 2549

จัดอบรมให้ผู้หนีภัยจากการสู้รบจากพม่าที่ที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่หละอำเภอท่าสองยางที่พักพิงชั่วคราวบ้านอุ้มเปี้ยมใหม่อำเภอพบพระและที่พักพิงชั่วคราวบ้านนุโพอำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก

偏遠地區發展計畫

興建小型水力發電之背景概述:
山地村落座落於叢林高山裡,阻礙了社群發展,雨季時對外交通異常困難。住民們是輪作田地的農民,種植稻米和蔬菜。有自己的傳統服飾與文化象徵,並且愛好和平,樂於相互分享、關懷,友善、互諒、合作的就像個大家庭一般。部份村落有小型學校、公共健康中心和社區活動中心,但欠缺電力讓學校運用較高科技的硬體設備。我們架設了小型水力發電裝置讓公眾使用,並訓練村民如何維護與保養。

經驗分享一:
我是邊境綠色能源團隊(BGET)的志工,對於太陽能系統、小型水力發電、太陽能鍋和水錘泵,我有許多相關經驗。我認為綠色能源對鄉村很有幫助,村民可因而減少家計開銷、避免森林濫墾濫伐、善用水資源,促進水土保持並達成自然資源的永續經營。村民很滿意我們提供的能源科技,所以綠色能源是值得推廣的。(Dek, 社區志工)

2006年工作概況:我們在2006年二月為Huey Kra Thing村提供水力發電。共計有45名學生、265位村民因此受惠。

2005年工作概況:我們在2005年三月為Mae sa pao村提供水力發電。共計有36名學生、386位村民因此受惠。

2004年工作概況:我們在2004年二月為Ewijo村提供水力發電。共計有77名學生、242位村民因此受惠。

2003年工作概況:我們在2003二月為Kre kee村提供水力發電。共計有76名學生、300位村民因此受惠。

太陽能發電工作坊之背景概述:
泰國政府於2004年在偏遠地區架設了家用太陽能發電系統,因為這裡是國家公園保護區,電力無法從城鎮輸送過來。然而,太陽能電池對村民來說是新科技,如果系統出了問題,他們會不知道該如何解決。所以我們為村民開了個工作坊,讓他們對系統與相關維護有更進一步的了解。

工作概況:
我們於2006年一月至三月在達府Thasongyang區為村民及當地政府官員開設工作坊。計有六區共120人參與。

2006年三月至六月在達府Thasongyang區為村民及當地政府官員開設工作坊。計有五區共100人參與。

在Thasongyang區的Mae la難民營、PhoPhra區的Umpium mai難民營和Umphang區的Nu pho難民營為難民開設工作坊。

1 comment:

小小黑的世界 said...

I went to there last year. I found that students study hard very much. I saw a child; she went to school with her younger sister. Her younger sister’s just several moths old. But she needed to carry her sister to school everyday. They are so cute and study hard. I help I can do something and let’s them will better.